หน้าเว็บ

รวมคาถาธรรมบทไทยอังกฤษ4


หมวดพระอรหันต์ - THE WORTHY

1. คตทฺธิโน วิโสกสฺส
วิปฺปมุตฺตสฺส สพฺพธิ
สพฺพคนฺถปฺปหีนสฺส
ปริฬาโห น วิชฺชติ ฯ90
ผู้เดินทางถึงจุดหมายปลายทางแล้ว
วิมุติหลุดพ้นโดยประการทั้งปวง
หมดโศก หมดเครื่องพัวพันแล้ว
ความร้อนใจก็หมดไป
For him who has completed his journey,
For him who is whooly free from all,
For him who has destroyed all bonds,
The fever of passion exists not.
2. อุยฺยุญฺชนติ สติมนฺโต
น นิเกเต รมนฺติ เต
หํสาว ปลฺลวํ หิตฺวา
โอกโมกํ ชหนฺติ เต ฯ91
ผู้มีสติย่อมขยันขันแข็ง
ไม่ยึดติดแหล่งที่อาศัย
ละทิ้งไปตามลำดับ
เหมือนกับพญาหงส์ทิ้งสระน้ำ
The mindeful ones exert themselves,
To no abode are they attached;
Like swans that quit their pools,
Home after home they leave behind.

3.. เยสํ สนฺนิจฺจดย นตฺถิ
เย ปริญฺญาตดภชนา
สุญฺญโต อนิมิตฺโต จ
วิโมกฺโข เยส โคจโร
อากาเสว สกุนฺตานํ
คติ เตสํ ทุรนฺวยา ฯ92

ท่านที่หมดการสะสม(ปัจจัยหรือกรรมดีกรรรมชั่ว)
พิจารณาโภชนะก่อนบริโภค เข้าถึงความหลุดพ้น
อันว่างจากกิเลสและไร้นิมิตหมายคือกิเลส
บุคคลเช่นนี้ ยากที่สามัญชนขะตามทัน
เหมือนนกบินบนท้องฟ้า ตามทันยาก

Those for whom there is no accumulation,
Who reflect well over their food,
Who have perceived void and unconditioned
freedom-
Their path is hard to trase,
Like that of birds in the air.

4. ยสฺสาสวา ปริกฺขีณา
อาหาเร จ อนิสฺสิดต
สุญฺญโต อนิมิตฺโต จ
วิโมกฺโข ยสฺส โคจโร
อากาเสว สกุนฺตานํ
ปทํ ตสฺส ทุรนฺวยํ ฯ93

ผู้หมดกิเลส ไม่เห็นแก่กิน เข้าถึงความหลุดพ้น
อันว่างจากกิเลสและไร้นิมิตหมายคือกิเลส
บุคคลเช่นนี้มิได้ทิ้งร่องรอยอะไรไว้เลย
เหมือนนกบินบนท้องฟ้า หารอยอันใดมิได้.

He whose corruptions are destroyed,
He who is not attached to food
He who has perceived void and unconditioned freedom-
His track cannot be traced,
Like that of birds in the air.

5. ยสฺสินฺทริยานิ สมถงฺคตานิ
อสฺสา ยถา สารถินา สุทนฺตา
ปหีนมานสฺส อนาสวสฺส
เทวาปิ ตสฺส ปิหยนฺติ ตาทิโน ฯ94

ท่านผู้ใดควบคุมอินทรีย์คือ
ตา, หู, จมูก, ลิ้น, กาย, ใจ ได้
เหมือนม้าที่สารถีควบคุมได้อย่างดี
ท่านผู้นี้หมดความไว้ตัว หมดกิเลส มั่นคง
ย่อมเป็นที่โปรดปราน แม้กระทั่งของเทวดาทั้งหลาย

He whose senes are subdued,
Like steeds well-trained by a charioteer;
He who is free from pride and corruption-
Such a steadfast one even the gods hold dear.

6. ปฐวีสโม โน วิรุชฺฌติ
อินฺทขีลูปดม ตาทิ สุพฺพโต
รหโทว อเปตกทฺทดม
สํสารา น ภวนฺติ ตาทิโน ฯ95

พระอรหันตฺเปรียบได้กับแผ่นดิน ไม่เคยโกรธขึ้งใคร
มีจิตคงที่ เหมือนหลักเมือง
มีจรรยาสะอาด เหมือนสระน้ำที่ใสไร้เปลือกตม
ผู้มีคุณสมบัติเห็นปานนี้ ย่อมไม่เวียนว่ายตายเกิดอีก

Like the earth the Worthy One resents not;
Like the chief post is he a firm mind;
Like an unsullied pool is he of pure conduct;
To such a one life's wanderings are no more.

7. สนฺตํ ตสฺส มนํ โหติ
สนฺตา วาจา จ กมฺม จ
สมฺมทญฺญา วิมุตฺตสฺส
อุปสนฺตสฺส ตาทิโน ฯ96

พระอรหันตฺผู้เป็นอิสระเพราะรู้แจ้ง
ผู้สงบระงับ และมีจิตมั่นคง
ใจของท่าน ย่อมสงบ
วาจาก็สงบ
การกระทำทางกายก็สงบ

Calm is his mind;
Calm is his speech;
Calm is his bodily action;
Perfectly peaceful and equipoised.
8. อสทฺโธ อกตญฺญู จ
สนฺธิจฺเฉโท จ โย นโร
หตาวกาโส วนฺตาโส
ส เว อุตฺตมโปริโส ฯ97

ผู้ไม่เชื่อใครง่ายตนกว่าจะพิสูจน์ด้วยตนเอง ๑
ผู้รู้แจ้งพระนิพพาน ๑
ผู้หมดการเวียนว่ายตายเกิด ๑
ผู้หมดโอกาสที่จะทำดีหรือชั่ว ๑
ผู้หมดกิเลสที่ทำให้หวัง ๑
ห้าประเภทนี้แล เรียกว่า "ยอดคน"

He who is not credulous,
He who has realized Nibbana,
He who has severed all ties,
He who has put an end to opportunity,
He who has removed all desires
He,indeed,is the greatest of men.

9. คาเม วา ยทิวารญฺเญ
นินฺเน วา ยิทวา ถเล
ยตฺถารหนฺโต วิหรนฺติ
ตํ ภูมิ รามเณยฺยกํ ฯ99

ไม่ว่าจะเป็นบ้าน หรือป่า
ไม่ว่าจะเป็นที่ลุ่ม หรือที่ดอน
พระอรหันต์ทั้งหลายอยู่ในที่ใด
ที่นั้น เป็นที่น่ารื่นรมย์

Whether in village or in forest,
Whether in vale or on hill'
Wherever the Worthy Ones dwell-
Delightful,indeed, is that spot.

10. รมณียานิ อรญฺญานิ
ยตฺถ น รมตี ชดน
วีตราคา รเมสฺสนฺติ
น เต กามคเวสิโน ฯ99

ป่าที่คนทั่วไปไม่ชื่นชม
เป็นรมณียสถาน
สำหรับท่านผู้มหมดราคะ
เพราะพระท่านมิได้ใฝ่กามคุณ

Delightful are the forests
Where worldings find no joy,
There the passionless rejoice
For they seek no sensual pleasures.

หมวดพัน - THE THOUSANDS

1. สหสฺสํ อปิ เจ วาจา 
อนตฺถปทสญฺหิตา 
เอกํ อตฺถปทํ เสยฺโย 
ยํ สุตฺวา อุปสมฺมติ ฯ100


คำพูดที่เหลวไหลไร้ประโยชน์ตั้งพันคำ 
ก็สู้คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียวไม่ได้ 
เพราะฟังแล้วทำให้จิตใจสงบ


Better than a thounsand useless words 
Is one beneficial single word, 
Hearing which one is pacified.


2. สหสฺสํ อปิ เจ คาถา 
อนตฺถปทสญฺหิตา 
เอกํ คาถาปทํ เสยฺโย 
ยํ สุตฺวา อุปสมฺมติ ฯ101


บทกวีตั้งพันโศลก 
แต่ไร้ประโยชน์ 
ไม่เท่าบทกวีบรรทัดเดียว 
ที่ทำให้ผู้ฟังได้รับความสงบ

Better than a thounsand verses, 
Comprising useless words, 
Is one beneficial single line, 
Hearing which one is pacified.

3. โย จ คาถาสตํ ภาเส 
อนตฺถปทสญฺหิตา 
เอกํ ธมฺมปทํ เสยฺโย 
ยํ สุตฺวา อุปสมฺมติ ฯ 102


บทกวีบรรยายธรรมบทเดียว 
ที่ทำให้ผู้ฟังได้รับความสงบ 
ประเสริฐกว่าบทกวีที่ท่องจำได้ตั้งร้อยโศลก 
แต่ไม่มีประโยชน์แม้แต่บทเดียว


Should one recite a hundred verses, 
Comprising useless words, 
Better is one single word of the Dhamma, 
Hearing which one is pacified.

4. โย สหสฺสํ สหสฺเสน 
สงฺคาเม มานุเส ชิเน 
เอกญฺจ เชยฺยมตฺตานํ 
ส เว สงฺคามชุตฺตโม ฯ103


ถึงจะรบชนะข้าศึกเป็นพัน ๆ ราย 
ก็ไม่นับเป็นยอดขุนพล 
แต่ผู้ที่เอาชนะจิตใจตน 
จึงเรียก "ยอดขุนพล" แท้จริง


Though one should conquer in battle 
A thounsand times a thounsand men, 
Yet should one conquer just oneself 
One is indeed the greatest victor.


5. อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย 
ยาจายํ อิตรา ปชา 
อตฺตทนฺตสฺส โปสสฺส 
นิจฺจํ สญฺญตจาริโน 
เนว เทโว น คนฺธพฺโพ 
น มาโร สห พฺรหฺมุนา 
ชิตํ อปชิตํ กยิรา 
ตถารูปสฺส ชนฺตุโน ฯ104-5


เอาชนะตนได้นั้นแล ประเสริฐ 
ผู้ที่ฝึกตนได้ ระวังระไวตลอดเวลา 
ถึงเทวดา คนธรรพ์ และพระพรหม 
ก็เอาชนะไม่ได้


Better indeed is it to conquer oneself, 
Neither a god nor a Gandharva 
Neither Mara nor Brahma 
Could turn into defeat the victory of one 
Who is self-madtered and self-controlled.


6. มาเส มาเส สหสฺเสน 
โย ยเชถ สตํ สมํ 
เอกญฺจ ภาวิตตฺตานํ 
มุหุตฺตมฺปิ ปูชเย 
ยญฺเจว วสฺสตํ หุตํ ฯ106


การบูชาท่านผู้ฝึกตน แม้เพียงหนึ่งครั้ง 
บังเกิดผลมหาศาล 
ยิ่งกว่าสละทรัพย์บูชายัญเดือนละพัน 
เป็นเวลาติดต่อกันถึงร้อยปี


Though, month after month with a thousand, 
One should sacrifice for a hundred years, 
Yet,if, only for a moment, 
One should honour the self-restrained, 
That honour, indeed, is better 
Than a century of sacrifice.


7. โย จ วสฺสสตํ ชนฺตุ 
อคฺคึ ปริจเร วเน 
เอกญฺจ ภาวิตตฺตานํ 
มุหุตฺจมฺปิ ปูชเย 
สา เยว ปูชนา เสยฺโย 
ยญฺเจ วสฺสสตํ หุตํ ฯ107


การบูชาท่านผู้ฝึกตนแม้เพียงครู่เดียว 
บังเกิดผลมหาศาล 
ยิ่งกว่าการบูชาไฟในป่า 
เป็นเวลาตั้งร้อยปี


Though one , for a century, 
Should tend the fire in the forest, 
Yet, if ,only for a moment, 
He should honour the self-restrained, 
Thai honour,indeed,is better 
Than a century of sacrifice.


8. ยงฺกิญฺจิ ยิฎฺฐํ ว หุตํ ว โลเก 
สํวจฺฉรํ ยเชถ ปุญฺญเปกฺโข 
สพฺพมฺปิ ตํ น จตุภาคเมติ 
อภิวาทนา อุชุคเตสุ เสยฺโย ฯ108


ไม่ว่ายัญชนิดไหน ที่ผู้ใคร่บุญพึงบูชาตลอดปี 
การบูชายัญนั้นมีค่าไม่เท่าหนึ่งในส่ของการยกมือไหว้ 
ท่านผู้ปฏิบัติตรงตามอริยมาาคแม้เพียงครั้งเดียว 
การไหว้บุคคลเช่นนั้นประเสริฐกว่าเป็นไหน ๆ


Whatever oblationnns and sacrifices 
One might offer for a year, 
Seeking merit thereby, 
All that is not worth a single quarter 
Of homage towards the upright 
Which is far more excellent.


9. อภิวาทนสีลิสฺส 
นิจฺจํ วุฑฺฒาปจายิโน 
จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ 
อายุ วณฺโณ สุขํ พลํ ฯ109


ผู้กราบไหว้ อ่อนน้อมถ่อมตัว 
ต่อผู้ใหญ่เป็นนิจศีล 
ย่อมเจริญด้วยคุณธรรมสี่ประการคือ 
อายุ ชื่อเสียง สุข และกำลัง


For one who is in the habit of 
Ever honouring and respecting the elders, 
Four qualities increase; 
Loong life,Fame, happiness and strength.


10. โย จ วสฺสสตํ ชีเว 
ทุสฺสีโล อสมาหิโต 
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย 
สีลวนฺตสฺส ฌายิโน ฯ110


ผู้มีศีล มีสมาธิ 
ประเสริฐกว่าชีวิตตั้งร้อยปี 
ของคนทุศีล ไร้สมาธิ


Though one should live a hundred years, 
Without conduct and concentration, 
Yet,better is a single day's life 
Of one who is moral and meditative.


11. โย จ วสฺสสตํ ชีเว 
ทุปฺปญฺโญ อสมาหิโต 
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย 
ปญฺญวนฺตสฺส ฌายิโน ฯ111


ผู้มีปัญญา มีสมาธิ 
มีชีวิตอยู่วันเดียว 
ประเสริฐกว่าชีวิตตั้งร้อยปี 
ของผู้ทรามปัญญา ไร้สมาธิ


Though one shold live an hundred years, 
Without wisdom and concentration, 
Yet, better is a single day's life 
Of one who is wise and meditative.


12. โย จ วสฺสสตํ ชีเว 
กุสีโต หีนวีริโย 
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย 
วีริยํ อารภโต ทฬฺหํ ฯ112


ผู้มีความเพียรมั่นคง 
มีชีวิตอยู่วันเดียว 
ประเสิรฐกว่าชีวิตตั้งร้อยปี 
ของผู้เกียจคร้าน ไร้ความเพียร


Though one should live a hundred years, 
Sluggish and inactive 
Yet,better is a single day's life 
Of one who intensely exerts himself.


13. โย วสฺสสตํ ชีเว 
อปสฺสํ อุทยพฺพยํ 
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย 
ปสฺสโต อุทยพฺพยํ ฯ113


ผู้พิจารณาเห็นความเกิด-ดับแห่งสังขาร 
มีชีวิตอยู่วันเดียว 
ประเสริฐกว่าชีวิตตั้งร้อยปี 
ของผู้ไม่พิจารณาเห็น


Better is a single day;s life of one 
Who discerns the rise and fall of things 
Than a hundred years'life of one 
Who is not comprehending.


14. โย จ วสฺสสตํ ชีเว 
อปสฺสํ อมตํ ปทํ 
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย 
ปสฺสโต อมตํ ปทํ ฯ114


ผู้พบทางอมตะ 
มีชีวิตอยู่วันเดียว 
ประเสริฐกว่าชีวิตตั้งร้อยปี 
ของผู้ไม่พบ


Better is a single day's life of one 
Who sees the Deathless 
Than a hundred years's life of one 
Who sees not that state.


15. โย จ วสฺสสตํ ชีเว 
อปสฺสํ ธมฺมมุตฺตมํ 
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย 
ปสฺสโต ธมฺมมุตฺตมํ ฯ115

ผู้เห็นพระธรรมอันประเสริฐ 
มีชีวิตอยู่วันเดียว 
ประเสริฐกว่าชีวิตตั้งร้อยปี 
ของผู้ไม่เห็น


Better is a single day's life of one 
Who understands the truth sublime 
Than a hundred years's life of one 
Who knows not that truth, so high.


หมวดบาป - EVIL
๑. อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ 
ปาปา จิตฺตํ นิวารเย 
ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ 
ปาปสฺมึ รมตี มโน ฯ ๑๑๖ ฯ 
พึงรีบเร่งกระทำความดี 
และป้องกันจิตจากความชั่ว 
เพราะเมื่อกระทำความดีช้าไป 
ใจจะกลับยินดีในความชั่ว


Make haste in doing gook, 
And check your mind from evil, 
Whoso is slow in making merit- 
His mind delights in evil.


๒. ปาปญฺเจ ปุริโส กยิรา 
น นํ กยิรา ปุนปฺปุนํ 
น ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ 
ทุกฺโข ปาปสฺส อุจฺจโย ฯ ๑๑๗ ฯ


ถ้าหากจำต้องทำชั่วไซร้ 
ก็ไม่ควรทำบ่อยนัก 
และไม่ควรพอใจในการทำชั่วนั้น 
เพราะการสะสมบาป นำทุกข์มาให้


Should a man commit evil, 
Let him not do it again and again, 
Nor turn his heart to delight therein; 
Painful is the heaping-up of evil.


๓. ปุญฺญญฺเจ ปุริโส กยิรา 
กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ 
ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ 
สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย ฯ ๑๑๘ ฯ


ถ้าหากจะทำความดี 
ก็ควรทำดีบ่อยๆ 
ควรพอใจในการทำความดีนั้น 
เพราะการสะสมความดีนำสุขมาให้


Should a man perform merit, 
Let him do it again and again, 
And trun his mind to delight therein; 
Blissful is the piling-up of merit.


๔. ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ 
ยาว ปาปํ น ปจฺจติ 
ยทา จ ปจฺจตี ปาปํ 
อถ ปาโป ปาปานิ ปสฺสติ ฯ ๑๑๙ ฯ


เมื่อบาปยังไม่ส่งผล 
คนชั่วก็เห็นว่าเป็นของดี 
ต่อเมื่อมันเผล็ดผลเมื่อใด 
เมื่อนั้นแหละเขาจึงรู้พิษสงของบาป


For the evil-doer all is well, 
While the evil ripens not; 
But when his evil yields its fruit, 
He sees the evil results.


๕. ภทฺโรปิ ปสฺสตี ปาปํ 
ยาว ภทฺรํ น ปจฺจติ 
ยทา จ ปจฺจตี ภทฺรํ 
อถ ภทฺโร ภทฺรานิ ปสฺสติ ฯ ๑๒๐ * ฯ


เมื่อความดียังไม่ส่งผล 
คนดีก็มองเห็นความดีเป็นความชั่ว 
ต่อเมื่อใดความดีเผล็ดผล 
เมื่อนั้นแหละเขาจึงจะเห็นผลของความดี


For the good man, perhaps, all is ill, 
While as yet his good is not ripe; 
But when it bears its fruit, 
He sees the good results.


๖. มาวมญฺเญถ ปาปสฺส 
น มตฺตํ อาคมิสฺสติ 
อุทพินฺทุนิปาเตน 
อุทกุมฺโภปิ ปูรติ 
อาปูรติ พาโล ปาปสฺส 
โถกํ โถกมฺปิ อาจินํ ฯ ๑๒๑ ฯ

อย่าดูถูกความชั่วเล็กน้อยว่าจักไม่สนองผล 
น้ำตกจากเวหาทีละหยาดๆ ยังเต็มตุ่มได้ 
คนพาลทำความชั่วทีละเล็กละน้อย 
ย่อมเต็มด้วยความชั่วได้เช่นกัน

Despise not evil, 
Saying, 'It will not come to me'; 
Drop by drop is the waterpot filled, 
Lidewise the fool, gathering little by little, 
Fills himself with evil.


๗. มาวมญฺเญถ ปุญฺญสฺส 
น มตฺตํ อาคมิสฺสติ 
อุทพินฺทุนิปาเตน 
อุทกุมฺโภปิ ปูรติ 
อาปูรติ ธีโร ปุญฺญสฺส 
โถกํ โถกมฺปิ อาจินํ ฯ ๑๒๒ ฯ


อย่าดูถูกบุญเล็กน้อยว่าจักไม่สนองผล 
น้ำตกจากเวหาทีละหยาดๆ ยังเต็มตุ่มได้ 
นักปราชญ์สะสมบุญทีละเล็กละน้อย 
ย่อมเต็มด้วยบุญได้เช่นกัน


Despise not merit, 
Saying, 'It will not come to me'; 
Drop by drop is the waterpot filled, 
Likewise the man, gathering little by little 
Fills himself with merit.


๘. วาณิโชว ภยํ มคฺคํ 
อปฺปสตฺโถ มหทฺธโน 
วิสํ ชีวิตุกาโมว 
ปาปานิ ปริวชฺชเย ฯ ๑๒๓ ฯ


พ่อค้ามีทรัพย์มาก มีพวกน้อย 
ละเว้นทางที่มีภัย 
คนรักชีวิตละเว้นยาพิษ ฉันใด 
บุคคลพึงละบาป ฉันนั้น


As a rich merchant, with small escort, 
Avoids a dangerous path, 
As one who loves life avoids poison, 
Even so should one shun evil.


๙. ปาณิมฺหิ เจ วโณ นาสฺส 
หเรยฺย ปาณินา วิสํ 
นาพฺพณํ วิสมเนฺวติ 
นตฺถิ ปาปํ อกุพฺพโต ฯ ๑๒๔ ฯ


เมื่อมือไม่มีแผล 
บุคคลย่อมจับต้องยาพิษได้ 
ยาพิษนั้นไม่สามารถทำอันตรายได้ 
บาปก็ไม่มีแก่ผู้ไม่ทำบาป

If no wound there be in the hand, 
One may handle poison; 
Poison does not affect one who has no wound; 
There is no ill for him who does no wrong.

๑๐. โย อปฺปทุฏฺฐสฺส นรสฺส ทุสฺสติ 
สุทฺธสฺส โปสสฺส อนงฺคณสฺส 
ตเมว พาลํ ปจฺเจติ ปาปํ 
สุขุโม รโช ปฏิวาตํว ขิตฺโต ฯ ๑๒๕ ฯ

บาปก็ย่อมตามสนองผู้โง่เขลา 
ซึ่งทำร้ายบุคคลที่ไม่ทำร้ายตอบ 
ผู้หมดจด ปราศจากกิเลส 
ดุจธุลีที่ซัดทวนลม (วกกลับมาหาผู้ซัด)

Whosoever offends a harmless person, 
One pure and guiltles, 
Upon that very fool the evil recoils 
Even as fine dust thrown against the wind.


๑๑. คพฺภเมเก อุปปชฺชนฺติ 
นิรยํ ปาปกมฺมิโน 
สคฺคํ สุคติโน ยนฺติ 
ปรินิพฺพนฺติ อนาสวา ฯ ๑๒๖ ฯ


สัตว์บางพวกกลับมาเกิดอีก 
พวกที่ทำบาป ไปนรก 
พวกที่ทำดี ไปสวรรค์ 
พวกที่หมดอาสวกิเลส ปรินิพพาน


Some are born in teh womb again; 
The evil-doers are born in hell; 
The good go to heaven; 
The Undefiled Ones attain Nibbana.


๑๒. น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ 
น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวิสฺส 
น วิชฺชตี โส ชคติปฺปเทโส 
ยตฺรฏฺฐิโต มุจฺเจยฺย ปาปกมฺมา ฯ ๑๒๗ ฯ


ไม่ว่าบนท้องฟ้า 
ไม่ว่าท่ามกลางสมุทร 
ไม่ว่าในหุบเขา 
ไม่มีแม้แต่แห่งเดียว 
ที่ผู้ทำกรรมชั่วอาศัยอยู่ 
จะหนีพ้นกรรมไปได้


Neither in the sky nor in mid-ocean, 
Nor in the clefts of the rocks, 
Nowhere in the world is a place to be found 
Where abiding one may escape from 
(the consequences of) an evil deed.

๑๓. น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชุเฌ 
น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวิสฺส 
น วิชฺชตี โส ชคติปฺปเทโส 
ยตุรฏฺฐิตํ นปฺปสเหยฺย มจฺจุ ฯ ๑๒๘ ฯ


ไม่ว่าบนท้องฟ้า 
ไม่ว่าท่ามกลางสมุทร 
ไม่ว่าในหุบเขา 
ไม่มีแม้สักแห่งเดียว 
ที่คนเราอาศัยอยู่แล้ว 
จะหนีพ้นความตายได้

Neither in the sky no in mid-ocean, 
Nor in the clefts of the rocks, 
Nowhere in the world is found that place 
Where abiding one will not be overcome by death.






หมวดลงทัณฑ์ - PUNISHMENT

๑. สพฺเพ ตสนฺติ ทณฺฑสฺส 
สพฺเพ ภายนฺติ มจฺจุโน 
อตฺตานํ อุปมํ กตฺวา 
น หเนยฺย น ฆาตเย ฯ ๑๒๙ ฯ

สัตว์ทั้งหมดกลัวโทษทัณฑ์ 
สัตว์ทั้งหมดกลัวความตาย 
เปรียบตนเองกับผู้อื่นอย่างนี้แล้ว 
ไม่ควรฆ่าเอง ไม่ควรสั่งให้คนอื่นฆ่า

All tremble at punishment; 
All fear death; 
Comparing others with oneself, 
One should neither kill nor cause to kill.
๒. สพฺเพ ตสนฺติ ทณฺฑสฺส 
สพฺเพสํ ชีวิตํ ปิยํ 
อตฺตานํ อุปมํ กตฺวา 
น หเนยฺย น ฆาตเย ฯ ๑๓๐ ฯ

สัตว์ทั้งหมดกลัวโทษทัณฑ์ 
สัตว์ทั้งหมดรักชีวิตของตน 
เปรียบตนเองกับคนอื่นอย่างนี้แล้ว 
ไม่ควรฆ่าเอง ไม่ควรสั่งให้คนอื่นฆ่า

All tremble a punishment; 
To all life is dear; 
Comparing others with oneself, 
One should neither kill nor cause to kill.

๓. สุขกามานิ ภูตานิ 
โย ทณฺเฑน วิหึสติ 
อตฺตโน สุขเมสาโน 
เปจฺจ โส น ลภเต สุขํ ฯ ๑๓๑ ฯ

สัตว์ทั้งหลายล้วนต้องการความสุข 
ผู้ที่ต้องการความสุขแก่ตน 
แต่เบียดเบียนสัตว์อื่น 
ตายไปแล้วย่อมไม่ได้รับความสุข

Whoso, himself seeking happiness, 
Harms pleasure-loving beings- 
He gets no happiness 
In the world to come.

๔. สุขกามานิ ภูตานิ 
โย ทณฺเฑน น หึสติ 
อตฺตโน สุขเมสาโน 
เปจฺจ โส ลภเต สุขํ ฯ ๑๓๒ ฯ

สัตว์ทั้งหลายล้วนต้องการความสุข 
ผู้ที่ต้องความสุขแก่ตน 
ไม่เบียดเบียนสัตว์อื่น 
ตายไปแล้วย่อมได้รับความสุข

Whoso, himself seeking happiness, 
Harms not pleasure-loving being- 
He gets happiness 
In the world to come.

, มาโวจ ผรุสํ กญฺจิ 
วุตฺตา ปฏิวเทยฺยุ ตํ 
ทุกฺขา หิ สารมฺภกถา 
ปฏิทณฺฑา ผุเสยฺยุ ตํ ฯ ๑๓๓ ฯ

อย่ากล่าวคำหยาบแก่ใครๆ 
เมื่อถูกท่านด่าว่า เขาจะโต้ตอบท่าน 
การพูดจากร้าวร้าวกันเป็นเหตุก่อทุกข์ 
อาจลุกลามถึงขั้นลงมือประทุษร้ายกัน

Speak not harshly to anyone. 
Those thus addressed will retort. 
Painful, indeed, is vindictive speech. 
Blows in exchange may bruise you.
๖. สเจ เนเรสิ อตฺตานํ 
กํโส อุปหโต ยถา 
เอส ปตฺโตสิ นิพฺพานํ 
สารมฺโภ เต น วิชฺชติ ฯ ๑๓๔ ฯ
ถ้าเธอทำตนให้เงียบเสียงได้ 
เหมือนฆ้องแตก 
ก็นับว่าเธอเข้าถึงนิพพานแล้ว 
เธอก็จะไม่ต้องทะเลาะเบาะแว้งกับใครอีก

If you silence yourself 
As a broken gong, 
You have already attained Nibbana. 
No contention will be found in you.
๗. ยถา ทณฺเฑน โคปาโล 
คาโว ปาเชติ โคจรํ 
เอวํ ชรา จ มจฺจุ จ 
อายุํ ปาเชนฺติ ปาณินํ ฯ ๑๓๕ ฯ

ความแก่และความตาย 
ไล่ต้อนอายุสัตว์ทั้งหลายไป 
เหมือนเด็กเลี้ยงโค ถือท่อนไม้ 
คอยไล่ต้อนฝูงโคไปสู่ที่หากิน

As with a staff the cowherd drives 
His cattle out to pasture-ground, 
So do old age and death comple 
The life of beings (all around).
8. อถ ปาปานิ กมฺมานิ 
กรํ พาโล น พุชฺฌติ 
เสหิ กมฺเมหิ ทุมฺเมโธ 
อคฺคิทฑฺโฒว ตปฺปติ ฯ136

คนพาล เวลาทำชั่ว 
หาสำนึกถึงผลของมันไม่ 
คนทรามปัญญามีกเดือดร้อน 
เพราะกรรมชั่วของตัว 
เหมือนถูกไฟไหม้

When a fool does wicked deeds, 
He does not know their future fruit. 
The witless one is tormented by his own deeds 
As if being burnt by fire.

9. โย ทณฺเฑร อทณฺเฑสุ 
อปฺปทุฎฺเฐสุ ทุสฺสติ 
ทสนฺนมญฺญตรํ ฐานํ 
ขิปฺปเมว นิคจฺฉติ ฯ137

ผู้ทำร้ายลงทัณฑ์แก่บุคคล 
ผู้ไม่เบียดเบียน ไม่ทำร้ายใคร 
ย่อมได้รับผลสนองสิบอย่าง 
อย่างใดอย่างหนึ่งทันตาเห็น

He who inflicts pnishment on those 
Who are harmless and who offend no one 
Speedily comes to one of these ten states;
10. เวทนํ ผรุสํ ชานึ 
สรีรสฺส จ เภทนํ 
ครุกํ วาปิ อาพาธํ 
จิตฺตกฺเขปํว ปาปุเณ ฯ138

ได้รับเวทนาอย่างรุนแรง 
ได้รับความเสท่อมเสีย 
ถูกทำร้ายร่างกาย 
เจ็บป่วยอย่างหนัก 
กลายเป็นคนวิกลจริต

To grievous bodily pain, 
To disaster, 
To bodily injury, 
To serious illness, 
To loss of mind, 
Will he come.

11. ราชโต วา อุปสคฺคํ 
อพฺภกฺขานํ ว ทารุณํ 
ปริกฺขยํ ว ญาตีนํ 
โภคานํ ว ปภงฺคุณํ ฯ139

ต้องราชภัย 
ถูกกล่าวหาอย่างรุนแรง 
ไร้ญาติพี่น้อง 
ทรัพย์สมบัติก็พินาศฉิบหาย

To oppression by the king, 
to grave accusation, 
To loss of relatives, 
To destruction of wealth, 
(will he come).

12. อถวาสฺส อคารานิ 
อคฺคิ ฑหติ ปาวโก 
กายสฺส เภทา ทุปฺปญฺโญ 
นิรยํ โส อุปปชฺชติ ฯ140

หรือไม่บ้านเรือนของเขาย่อมถูกไฟไหม้ 
ตายไป เขาผู้ทรามก็ตกนรก

Or his house will be burnt up with fire, 
And that unwise one will pass to hell 
In the world to come.

13. น นคฺคจริยา น ชฎา น ปงฺกา 
นานาสกา ตณฺฑิลสายิกา วา 
รโชชลฺลํ อุกฺกุฎิกปฺปธานํ 
โสเธนฺติ มจฺจํ อวิติณฺณกงฺขํ ฯ141

ไม่ใช่ประพฤติตนเป็นชีเปลือย ไม่ใช่มุ่นชฏา 
ไม่ใช่เอาโคลนทาร่างกาย ไม่ใช่การอดอาหาร 
ไม่ใช่นอนบนดิน ไม่ใช่คลุกฝุ่นธุลี ไม่ใช่นั่งกระโหย่ง 
ที่ทำให้คนผู้ยังไม่ข้ามพ้นความสงสัย บริสุทธิ์

Not nakedness, nor matted hair, 
Nor dirt,nor fasting, 
Nor llying on the ground, 
Nor besmearing oneself with ashes, 
Nor squatting on the heels, 
Can purity a mortal 
Who has not overcome doubts.

14. อลงฺกโต เจปิ สมํ จเรยฺย 
สนฺโต ทนฺโต นิยโต พฺรหฺมจานี 
สพฺเพสุ ภูเตสุ นิธาย ทณฺฑํ 
โส พฺรามหฺมโณ โส สมโณ ส ภิกขุ ฯ142

ถึงจะแต่งกายแบบใด ๆ ก็ตาม 
ถ้าใจสงบระงับ ควบคุมตัวได้ 
มั่นคง บริสุทธิ์ ไม่เบียดเบีนคนอื่น 
เรียกว่า พราหมณ์ สมณะ หรือ ภิกษุ

In whatever he be decked, 
If yet he cultivates traquilty of mind, 
Is calm, controlled, certain and chaste, 
And has ceased to injure all other beings, 
He is indeed, a brahmana, a samana, a bhikkhu.

15. หิรีนิเสโธ ปุริโส 
โกจิ โลกสฺมึ วิชฺชติ 
โย นิทฺทํ อปโพเธติ 
อสฺโส ภทฺโร กสามิว ฯ153

ผู้หักห้ามใจไม่ทำชั่วเพราะละอายบาป 
หาได้น้อยนักในโลกนี้ 
คนเช่นนี้ย่อมปลุกตัวเองจากหลับอยู่เสมอ 
เหมือนม้าดี ระวังตัวเองให้พ้นแส้
Rarely is found in this world anyone 
Who is restrained by shame and wide-awake, 
As a thoroughbred horse avoids the whip.

16. อสฺโส ยถา ภทฺโร กสานิวิฎฺโฐ 
อาตาปิโน สํเวคิโน ภวาถ 
สทฺธาย สีเลน จ วีริเยน จ 
สมาธินา ธมฺมวินิจฺฉเยน จ 
สมฺปนฺนวิชฺชาจรณา ปฎิสฺสตา 
ปหิสฺสถ ทุกฺขมิทํ อนุป์ปกํ ฯ144

ธรรมดาม้าดี เมื่อถูกลงแส้ครั้งหนึ่ง ย่อมสำนึก 
(ความผิดครั้งแรก)และพยายาม(วิ่งให้เร็ว) 
พวกเธอก็จงทำตนเช่นนั้น อาศัยศรัทธา, ศีล, 
ความเพียรมสมาธิ, การวินิจฉัยธรรม, ความสมบูรณ์ด้วย 
ความรู้และความประพฤติม และอาศัยสติ 
พวกเธอจักละทุกข์ได้ไม่น้อยเลย

Even as a thoroughbred horse once touched by the whip 
Becomes agitated and exerts himself greatly, 
So be strenuous and filled with religious emotion, 
By confidance, virtue, effort and concentration, 
By the investigation of the Doctrine, 
By being endowed with knowledge and conduct 
And by keeping your mind alert, 
Will you leave this great suffering behind.

17. อุทกํ หิ นยนฺติ เนตฺติกา 
อุสุการา นมยนฺติ เตชนํ 
ทารุํ นมยนฺติ ตจฺฉกา 
อตฺตานํ ทมยนฺติ สุพฺพตา ฯ145

ชาวนา ไขน้ำเข้านา 
ช่าวศร ดัดลูกศร 
ช่างไม้ ถากไม้ 
คนดี ฝึกตนเอง

Irrigaors lead water; 
Fletchers fashion shafts; 
Carpenters bend wood; 
The good tame themselves.

�ห� k/� � б � ��่ ดีหรือไม่ดี
ผู้นั้นเราเรียกว่า พราหมณ์
He who in this world
Takes not what is not given,
Be it long or short,
Small or great, fair or foul-
Him do I call a brahmana.
๒๘. อาสา ยสฺส น วิชฺชนฺติ
อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จ
นิราสยํ วิสํยุตฺตํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๑๐ ฯ
ผู้ใดไม่มีความอยาก
ในโลกนี้และโลกหน้า
หมดกิเลส เป็นอิสระ
ผู้นั้นเราเรียกว่า พราหมณ์
He who has no longing
Either for this world or nexto world,
Who is detached and emancipated-
Him do I call a brahmana.
๒๙. ยสฺสาลยา น วิชฺชนฺติ
อญฺญาย อกถํกถี
อมโตคธํ อนุปฺปตฺตํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๑๑ ฯ
ผู้ใดหมดตัณหา
หมดสงสัย เพราะรู้แจ้งจริง
ลุถึงอมตนิพพานแล้ว
ผู้นั้นเราเรียกว่า พราหมณ์
He who has no more longing,
Who through knowledge is free from doubts,
Who has plunged deep into the Deathless-
Him do I call a brahmana.
๓๐. โยธ ปุญฺญญฺจ ปาปญฺจ
อุโภ สงฺคํ อุปจฺจคา
อโสกํ วิรชํ สุทฺธํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๑๒ ฯ
ผู้ละบุญละบาปได้
พ้นกิเลสผูกพัน
ไม่โศก ไม่มีกิเลส บริสุทธิ์
เราเรียกว่า พราหมณ์
He who has passed beyond
Good and bad and attachment,
Who is sorrowless, stainless and pure-
Him do I call a brahmana.

๓๑. จนฺท ว วิมลํ สุทฺธํ
วิปฺปสนฺนํ อนาวิลํ
นนฺทิภวปริกฺขีณํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๑๓ ฯ
ผู้บริสุทธิ์ เหมือนจันทร์แจ่ม สงบ
ผ่องใส หมดความพอใจในภพ
เราเรียกว่า พราหมณ์
He who is pure as the spotless moon,
He who is serene and clear,
He who has ended delight in existence-
Him do I call a brahmana.
๓๒. โย อิมํ ปลิปถํ ทุคฺคํ
สํสารํ โมหมจฺจคา
ติณฺโณ ปารคโต ฌายี
อเนโช อกถํกถี
อนุปาทาย นิพฺพุโต
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๑๔ ฯ
ผู้ข้ามสงสารวัฏ และโมหะ
อันเป็นทางหล่มที่ข้ามได้แสนยากนี้
ลุถึงฝั่งโน้น เป็นนักกรรมฐาน
หมดตัณหา หมดความสงสัย
หมดความยึดมั่น บรรลุนิพพาน
เราเรียกว่า พราหมณ์
He who has passed beyond
This quagmire, this difficult path,
The ocean (of life) and delusion,
Who has crossed and gone beyond,
Who is meditative, desireless and doubtless,
Who, clinging to nought, has attained Nibbana-
Him do I call a brahmana.
๓๓. โยธ กาเม ปหตฺวาน
อนาคาโร ปริพฺพเช
กามภวปริกฺขีณํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ๔๑๕ ฯ
ผู้ละกามารมณ์
ออกบวชไม่มีเรือน
หมดความใคร่ในภพ
เราเรียกว่า พราหมณ์
He who, giving up sensual pleasures,
Would renounce and become a homeless one,
Who has removed the lust of becoming-
Him do I call a brahmana.
๓๔. โยธ ตณฺหํ ปหตฺวาน
อนาคาโร ปริพฺพเช
ตณฺหาภวปริกฺขีณํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๑๖ ฯ
ผู้ละตัณหา
ออกบวชไม่มีเรือน
หมดความอยากในภพ
เราเรียกว่า พราหมณ์
He who, giving up craving,
Would renounce and become a homeless one,
Who has destroyed the craving for existence-
Him do I call a brahmana.
๓๕. หิตฺวา มานุสกํ โยคํ
ทิพฺพํ โยคํ อุปจฺจคา
สพฺพโยควิสํยุตฺตํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๑๗ ฯ
ผู้ละเครื่องผูกพัน
ทั้งของมนุษย์และเทวดา
หมดเครื่องผูกพันทุกชนิด
คนเช่นนี้เราเรียกว่า พราหมณ์
He who, discarding human ties,
And transcending celestial ties,
Is completely freed from all ties-
Him do I call a brahmana.
๓๖. หิตฺวา รติญฺจ อรติญฺจ
สีติภูตํ นิรูปธึ
สพฺพโลกาภิภุํ วีรํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๑๘ ฯ
ผู้ละความยินดีและความไม่ยินดี
เย็นสนิท หมดอุปธิ (กิเลส)
อาจหาญ ชนะโลกทั้งมวล
เราเรียกว่า พราหมณ์
He who has given up delight and aversion,
Who is cooled and without attachments,
Strenous and victorious over the world-
Him do I call a brahmana.
๓๗. จุตึ โย เวทิ สตฺตานํ
อุปปตฺติญฺจ สพฺพโส
อสตฺตํ สุคตํ พุทฺธํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๑๙ ฯ
ผู้รู้จุติ และปฏิสนธิ
ของสัตว์ทั้งหลายโดยละเอียด
ผู้ไม่ขัดข้อง ไปดี ตรัสรู้ธรรม
เราเรียกว่า พราหมณ์
He who perfectly understands
The rise and fall of all beings,
Who is detached, well-hone and enlightened-
Him do I call a brahmana.
๓๘. ยสฺส คตึ น ชานนฺติ
เทวา คนฺธพฺพมานุสา
ขีณาสวํ อรหนฺตํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๒๐ ฯ
เทวดา คนธรรพ์ และมนุษย์ทั้งหลาย
ไม่ทราบทางไปของผู้ใด
ผู้เป็นพระอรหันต์ ขีณาสพ
ผู้นั้นเราเรียกว่า พราหมณ์
He whose way is unknown
To hods, gandharvas and men,
Who has destroyed all defilements
And who has become enlightened-
Him do I call a brahmana.
๓๙. ยสฺส ปุเร จ ปจฺฉา จ
มชุเฌ จ นตฺถิ กิญฺจนํ
อกิญฺจนํ อนาทานํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๒๑ ฯ
ผู้ไม่มีความยึดถือทั้งเบื้องต้น (อดีต)
ท่ามกลาง (ปัจจุบัน) ่ที่สุด (อนาคต)
ปราศจากความยึดมั่นถือมั่น
เราเรียกว่า พราหมณ์
He who clings not to the past,
The present and the future, too,
Who has no clinging and grasping-
Him do I call a brahmana.
๔๐. อุสภํ ปวรํ วีรํ
มเหสึ วิชิตาวินํ
อเนชํ นหาตกํ พุทฺธํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๑๒ ฯ
มหาฤาษีผู้องอาจ ประเสริฐ แกล้วกล้า
ชำนะ ปราศจากตัณหา
บริสุทธิ์ ตรัสรู้ธรรม
เราเรียกว่า พราหมณ์
The fearless, the noble, the hero,
The great sage, the conqueror,
The desireless, the pure, the enlightened-
Him do I call a brahmana.
๔๑. ปุพฺเพนิวาสํ โย เวทิ
สคฺคาปายญฺจ ปสฺสติ
อโถ ชาติกฺขยํ ปตฺโต
อภิญฺญาโวสิโต มุนิ
สพฺพโวสิตโวสานํ
ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ ฯ ๔๒๓ ฯ
มุนี ผู้รู้อดีตชาติของตน
เห็นสวรรค์และอบาย
ไม่ต้องเกิดอีกต่อไป
รู้แจ้งเห็นจริง
บำเพ็ญหน้าที่บริบูรณ์แล้ว
เราเรียกว่า พราหมณ์
The sage who knows his previous births,
Who sees heaven and hell,
Who has reached the end of births,
Who has attained to insight-wisdom,
Who has completed his holy life-
Him do I call a brahmana. .